HTTP status codes

21 Feb 2017

Share to:

error code หรือ status code ที่ server ส่งกลับมาเมื่อเราเปิดเว็บ จะมีความหมายดังนี้

  • 100 Continue (100 ดำเนินการต่อ)
  • 101 Switching Protocols (101 สลับโปรโตคอล)
  • 200 OK (200 โอเค)
  • 201 Created (201 สร้างแล้ว)
  • 202 Accepted (202 ยอมรับแล้ว)
  • 203 Non-Authoritative Information (203 ข้อมูลที่ไม่ผ่านการอนุญาต)
  • 204 No Content (204 ไม่มีเนื้อหา)
  • 205 Reset Content (205 รีเซ็ตเนื้อหา)
  • 206 Partial Content (206 เนื้อหาบางส่วน)
  • 300 Multiple Choices (300 หลายตัวเลือก)
  • 301 Moved Permanently (301 ถูกย้ายถาวร)
  • 302 Moved Temporarily (302 ถูกย้ายชั่วคราว)
  • 303 See Other (303 ดูอื่นๆ)
  • 304 Not Modified (304 ไม่ได้แก้ไข)
  • 305 Use Proxy (305 ใช้พร็อกซี่)
  • 400 Bad Request (400 คำขอไม่เหมาะสม)
  • 401 Authorization Required (401 ต้องได้รับอนุญาต)
  • 402 Payment Required (402 ต้องชำระเงิน)
  • 403 Forbidden (403 ถูกห้าม)
  • 404 Not Found (404 ไม่พบ)
  • 405 Method Not Allowed (405 วิธีการไม่ได้รับอนุญาต)
  • 406 Not Acceptable (406 ไม่สามารถยอมรับได้)
  • 407 Proxy Authentication Required (407 ต้องรับรองความถูกต้องของพร็อกซี่)
  • 408 Request Time-Out (408 คำขอหมดเวลา)
  • 409 Conflict (409 ขัดแย้ง)
  • 410 Gone (ไม่มีอยู่)
  • 411 Length Required (411 ต้องกำหนดความยาว)
  • 412 Precondition Failed (412 ข้อกำหนดขั้นต้นล้มเหลว)
  • 413 Request Entity Too Large (413 ชื่อคำขอใหญ่เกินไป)
  • 414 Request-URL Too Large (414 URL คำขอใหญ่เกินไป)
  • 415 Unsupported Media Type (415 ประเภทสื่อไม่สนับสนุน)
  • 500 Server Error (500 ข้อผิดพลาดของเซิร์ฟเวอร์)
  • 501 Not Implemented (501 ไมได้นำไปใช้)
  • 502 Bad Gateway (502 เกตเวย์ไม่เหมาะสม)
  • 503 Out of Resources (503 ทรัพยากรไม่เพียงพอ)
  • 504 Gateway Time-Out (504 หมดเวลาเกตเวย์)
  • 505 HTTP Version not supported (505 เวอร์ชัน HTTP ไม่สนับสนุน)
  • 506 Variant Also Negotiates
  • 507 Insufficient Storage (WebDAV)
  • 509 Bandwidth Limit Exceeded (Apache bw/limited extension)
  • 510 Not Extended

ข้อมูลจาก www.thaiseoboard.com

Suggestion blogs

มาตราฐาน RSS 2.0

สวัสดีครับ สําหรับทความนี้จะเกี่ยวข้องกับ มาตรฐานของ RSS 2.0 ก่อนอื่นมาดูตัวอย่าง xml ของ RSS 2.0 กันก่อน

[ภาษาซี] ลําดับการทํางานของโอเปอเรเตอร์

โอเปอเรเตอร์มีอยู่หลายชนิด ดังนั้นภาษาซีจึงได้กําหนดลําดับความสําคัญของของโอเปอเรเตอร์ขึ้นมา โดยเรียงลําดับจากความสําคัญสูงไปความสําคัญตํ่า ดังนี้

C++ OOP การสร้าง Pointer Object ของ Class

จากบทความ C++ OOP การสร้าง Class และการใช้งาน Class ผมอธิบายถึงการสร้าง Object แบบ Stack แต่ในบทความนี้ผมจะอธิบายเรื่องการสร้าง Object โดยใช้ Pointer ข้อแตกต่างกันคือ การสร้าง Object แบบ Stack จะคล้ายๆกับเราสร้างตัวแปรขึ้นมาตัวนึงเมื่อใช้งานเสร็จหรือจบโปรแกรม ระบบจะคืน memory หรือทําลาย Object นั้นทิ้งให้โดยอัตโนมัติ แต่ถ้าสร้าง Object แบบ Pointer จะไม่ทําลาย Object ให้เราเมื่อจบโปรแกรม เราจะต้องเป็นคนทําลาย Object เอง ทําสั่งที่ใช้ ทําลาย Object คือ "delete" ตามด้วย Object ที่ต้องการลบ _ถ้าเราไม่ลบ Object ที่เราสร้างขึ้น ระบบจะไม่สามารถเข้าใช้งาน memory ในส่วนนั้นได้ ทําให้เกิด memory leak _


Copyright © 2019 - 2024 thiti.dev |  v1.39.0 |  Privacy policy | 

Build with ❤️ and Astro.

Github profile   Linkedin profile   Instagram   X profile   Youtube channel   Telegram   Email contact   วงแหวนเว็บ