Review ไฟฉาย Olight sMini limited edition

13 Feb 2017

Share to:

ไฟฉาย Olight sMini limited edition เป็นรุ่นที่มีขนาดเล็ก ใส่แบตเตอรี่ CR123 ยาวเพียง 5.45 ซม มาดูคุณสมบัติกันครับ

  • ยี่ห้อ : Olight
  • รุ่น : sMini
  • ชนิดหลอด: Cree  XM-L2 cool white
  • อายุหลอด: 5 หมื่นชั่วโมง
  • ให้ความสว่างสูงสุด: 550 ANSI ลูเมนส์  (ทดสอบด้วยแบต CR123 3.0V)
  • ระดับความสว่าง : สูง 550 ลูเมนส์ 1.5+120 นาที., กลาง 60 ลูเมนส์ 8:30 ชม., ต่ำ 12 ลูเมนส์ 64 ชม, ประหยัด 0.5 ลูเมนส์ 30 วัน (ทดสอบด้วยแบต CR123 3.0V 1600mA)
  • ชนิดแบตตอรี่:  CR123 x 1 ก้อน หรือ RCR123 (3.7v) x 1 ก้อน
  • ลักษณะสวิทซ์เปิดปิด: สวิทซ์ตรงคอไฟฉาย
  • ลักษณะโคมสะท้อนแสง: เลนส์ PMMA TIR
  • ระยะส่อง: แสงพุ่งไกล 110 เมตร  ลักษณะแสงกว้าง ครอบคลุมพื้นที่
  • ชนิดเลนส์: เลนส์ PMMA TIR
  • ขนาด: กระบอก 2.1 ซม. ยาว 5.45 ซม
  • มาตราฐานกันน้ำ: IPX-8
  • กันกระแทก: 1.5 เมตร

วิธีใช้งาน

วิธีเปิดปิดความสว่าง 1. กดสวิทซ์แล้วปล่อยหนึ่งครั้งเปิด กดแล้วปล่อยอีกครั้งเปิด วิธีปรับความสว่าง 1. ปรับความสว่างโดย กดสวิทซ์ตรงคอไฟฉายค้างไว้  ระดับแสงจะเปลี่ยนไปเรื่อยๆ  เมื่อถึงระดับแสงที่ต้องการให้ปล่อยปุ่ม วิธีเลือกระดับแสงเทอร์โบทันที 1. ไฟฉายอยู่สถานะปิด 2. กดปุ่มสองครั้งแล้วปล่อย ไฟฉายจะเข้าสู่โหมดกระพริบ วิธีเลือกจังหวะกระพริบ 1. ไฟฉายอยู่สถานะเปิด 2. กดปุ่มสองครั้งแล้วปล่อย ไฟฉายจะเข้าสู่โหมดกระพริบ วิธีเลือกโหมดแสงจันทร์ 1. ไฟฉายอยู่สถานะปิด 2. กดปุ่มค้าง ไฟฉายจะเปิดที่โหมดแสงจันทร์  (แสงจะหรี่มาก)

Image

กล่องออกแบบมาเรียบหรูดูดี

Image

ภายในกล่อง

Image

รูปในมุมต่างๆ

Image

Image

Image

Image

Image

Image

Image

Image

สรุปโดยร่วมถือว่าโอเคเลยครับ สวยงาม เล็กแต่แรงใช้ได้เลย แต่มีข้อเสียคือ เรื่องความร้อนมันร้อนมากๆ และเมื่อในกับแบตเตอรี่ที่มีวงจรบางยี่ห้ออาจจะตัดได้ เนื่องจากตัวนี้กินกระแสค่อนข้างสูงเลยทีเดียว

Suggestion blogs

ทําความรู้จักกับ Podman

สวัสดีครับ ในบทความนี้เราจะมาทําความรู้จักกับ Podman กัน ซึ่งเป็นทางเลือกใหม่สําหรับผู้ที่ใช้งาน Docker โดยเราจะมาดูกันว่า Podman คืออะไร และมีความแตกต่างจาก Docker อย่างไร

Emulate Ethernet Over USB เพื่อใช้ SSH ผ่าน USB Raspberry Pi

สวัสดีครับ ปกติแล้วเมื่อต้องการจะควบคุม Raspberry Pi เราก็จะต้องเชื่อมต่อ Raspberry Pi เข้ากับ Network แล้ว SSH ไปที่ Raspberry Pi แต่วันนี้เราจะมาใช้งาน SSH ผ่าน USB โดยไม่ต้องไปเชื่อมต่อกับ Network ให้ยุ่งยากวุ่นวาย เพียงแค่เรามีสาย USB เพียงเส้นเดียวก็สามารถ SSH เพื่อควบคุม Raspberry Pi ได้

C++ OOP การสร้าง Pointer Object ของ Class

จากบทความ C++ OOP การสร้าง Class และการใช้งาน Class ผมอธิบายถึงการสร้าง Object แบบ Stack แต่ในบทความนี้ผมจะอธิบายเรื่องการสร้าง Object โดยใช้ Pointer ข้อแตกต่างกันคือ การสร้าง Object แบบ Stack จะคล้ายๆกับเราสร้างตัวแปรขึ้นมาตัวนึงเมื่อใช้งานเสร็จหรือจบโปรแกรม ระบบจะคืน memory หรือทําลาย Object นั้นทิ้งให้โดยอัตโนมัติ แต่ถ้าสร้าง Object แบบ Pointer จะไม่ทําลาย Object ให้เราเมื่อจบโปรแกรม เราจะต้องเป็นคนทําลาย Object เอง ทําสั่งที่ใช้ ทําลาย Object คือ "delete" ตามด้วย Object ที่ต้องการลบ _ถ้าเราไม่ลบ Object ที่เราสร้างขึ้น ระบบจะไม่สามารถเข้าใช้งาน memory ในส่วนนั้นได้ ทําให้เกิด memory leak _


Copyright © 2019 - 2024 thiti.dev |  v1.39.0 |  Privacy policy | 

Build with ❤️ and Astro.

Github profile   Linkedin profile   Instagram   X profile   Youtube channel   Telegram   Email contact   วงแหวนเว็บ